ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น

ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น
ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น

ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น

ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น สำหรับผู้ที่ต้องการลงทุนอยากมีกิจการร้านอาหารตามที่ใจรัก จากกระแสคนที่รักอาหารญี่ปุ่นที่นับวันจะเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง เราอาจจะเห็นได้ว่าหาเราไปเดินตลาดหรือตามงานเทศกาลต่างๆ มักจะมีร้านค้าเล็กๆ ที่มาขายซูชิหน้าต่างๆ โดยราคาชิ้นละ 5 – 10 บาท ซึ่งเป็นกิจการเล็กๆ แต่หากต้องการที่จะขยายกิจการลองดู ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น แต่นักลงทุนส่วนใหญ่มักจะกลัวปัญหาที่จะเกิด เพราะยังขาดความรู้และทักษะ สำหรับสิ่งที่ต้องเตรียมตัวเพื่อ ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น มีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้

  1. ทำเลและสถานที่ ถือเป็นหัวใจหลักสำหรับ ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น หากมีอาคารหรือการเช่าพื้นที่ ไม่ว่าจะเป็นที่โล่งหรือห้องชุด ที่อยูใกล้แหล่งชุมชนโดยเฉพาะ แห่งที่มีบริษัท หน่วยงานราชการ หรือยานที่มีพนักงานมนุษย์เงินเดือนอยู่เป็นจำนวนมาก หรือใกล้แห่งสถานที่ท่องเที่ยว เป็นต้น
  2. การตกแต่งร้านหากไม่มีทุนหรือต้องการประหยัดทุน สามารถใช้เป็นโต๊ะญี่ปุนและการนั่งกับพื้นได้ ควรมีมุมพื้นที่เล็กๆ สำหรับให้ลูกค้าถ่ายรูปหรือเป็นแลนมาร์คของร้าน จะช่วยเรื่องของการโฆษณาร้านได้
  3. วัสดุอุปกรณ์และวัตถุดิบต่งๆ สำหรับ ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น เนื่องจากในประเทศไทยมีการผลิตและนำเข้าสิ้นค้าจากต่างประเทศทำให้เราสามารถสั่งซื้อสินค้าโดยค้นหาข้อมูลแหล่งที่ขายอุปกรณ์ได้
  4. ระบบ Retail POS สำหรับการบริหารร้านค้า เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการคิดเงิน การบริการพนังงาน การสั่งรายการอาหาร และการทำโปรโมทชั่น เป็นต้น
  5. แหล่งเงินทุนสำรองสำหรับ ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น แน่นอนว่าเงินเก็บที่สะสมมาอาจจะหมดไปกับการตกแต่งสถานที่ หรือ วัสดุอุปกรณ์ในครั้งแรก ดังนั้นผู้ลงทุนควรมีการแสวงหาแหล่งเงินทุนสำรอง เช่น SME Bank หรือหน่วยงานภาครัฐที่ให้การสนับสนุนของกระทรวงพาณิชย์ หรือใช้วิธีการหมุนเวียนเงินของบัตรเครดิต
ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น
ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น

แต่สำหรับนักลงทุนที่มีสถานที่แต่ไม่ต้องการ ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น โดยที่ต้องใช้เงินทุนสูงๆ ก็อาจจะเลือกมองเป็นแฟรนไชส์อาหารญี่ปุ่น ที่บริษัทมีให้ผ่อนชำระและลงทุนให้ก่อน ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของแต่ละบริษัทที่ให้บริการแฟรนไชส์อาหารญี่ปุ่น ดังนั้นผู้ลงทุนควรศึกษาข้อมูลก่อนการตัดสินใจ

ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น
ลงทุนเปิดร้านอาหารญี่ปุ่น

 

ตั้งค่า QOS

ตั้งค่า QOS
ตั้งค่า QOS

ตั้งค่า QOS

ตั้งค่า QOS ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนสำหรับผู้ที่ไม่มีความรู้ทางด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือไอที ระบบ Quality of Service หรือ QOS คือ การจัดการบริหารแบนด์วิธหรือช่องทางของระบบเครือข่าย หากเราลองนึกสภาพการจราจรบนถนนที่มีทางแยกซึ่งแน่นอนว่าผู้ใช้รถแต่ละคนต้องการที่จะไปก่อนต่างก็แย่งกันใช้เส้นทางทำให้กลายเป็นปัญหาการจราจรที่ไม่มีระเบียบ แต่หากมีการกำหนดสัญญาณไฟจราจร เพื่อเป็นการบริหารเส้นทางที่มีอยู่อย่างจำกัด ก็จะทำให้มีการจัดระเบียบการจราจรที่ดีขึ้น หน้าที่ของระบบ QOS นี้ก็จะมีลักษณะที่คล้ายๆ กันดังที่ได้เปรียบเทียบกับการจราจร โดยมีวัตถุประสงค์สำหรับการจัดสรรเส้นทางแบนด์วิธในระบบเครือข่ายที่มีอยู่อย่างจำกัด

การตั้งค่า QOS ในอุปกรณ์ เช่น modem, rounter, switch เป็นต้น ของยี่ห้อต่างๆ ได้มีการนำระบบ QOS เพิ่มเข้ามาใช้งาน หากเป็นการใช้งานตามบ้านพักก็คงไม่มีปัญหาอะไร แต่สำหรับบริษัทหรือองค์กร ย่อมจะมีผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นจำนวนมาก สมมุติว่าในบริษัทแห่งหนึ่งมีเช่า ADSL Internet ไว้ที่ความเร็ว 10 mb มีพนักงานที่ต่างคนต่างใช้อินเตอร์เน็ต เช่น Email, Facebook, Line, Website, Youtube เป็นต้น ดังนั้นบริษัทไม่สามารถที่จะมามองจับผิดที่หน้าจอคอมพิวเตอร์ได้ว่าพนักงานทำอะไรอยู่ ซึ่งกรณีหากมีการทำงานที่ต้องใช้อินเตอร์เน็ตก็จะทำให้เกิดความเร็วช้า และจะทำอย่างไรเพื่อป้องกันพนักงานที่ดู Facebook, Youtube ในระหว่างทำงาน

การตั้งค่า QOS จึ่งได้เข้ามามีบทบาทในเรื่องของการลดความเร็วของผู้ที่ใช้งาน หรือ จะปิดกั้นการใช้งานในช่องทางที่ถูกกำหนดไว้ สำหรับผู้ใช้งานบริษัทที่ไม่ใหญ่มากนัก ก็สามารถเลือกซื้ออุปกรณ์เครือข่ายที่รองรับการทำงานของ QOS เพื่อใช้สำหรับการบริหารเครือข่ายได้ แต่สำหรับองค์กรใหญ่ๆ ควรดูเป็นระบบ Network Monitoring and Management Software ที่มีความสามารถมากกว่าในการช่วยตรวจสอบ

โปรแกรมตั้งค่า QOS มีลักษณะดังนี้

  • ตั้งค่า QOS แบบกำหนดเป็นช่วงไอพี เช่น 192.168.1.10 – 192.168.1.50 โดยอุปกรณ์บางยี่ห้อจะใช้ การตั้งค่า QOS เป็นช่วงไอพีเพื่อกำหนดความเร็วของคอมพิวเตอร์ที่ถูกกำหนดหมายเลขไอพีไว้ ซึ่งวิธีนี้จะใช้ในอุปกรณ์พวก Switch, Rounter เป็นส่วนใหญ่ เหมาะสำหรับผู้ใช้งานทั่วไป
  • การตั้งค่า QOS แบบกำหนดชื่อของ Software หรือ Application โดยอุปกรณ์ที่ใช้ลักษณะนี้จะเป็นอุปกรณ์อีกระดับหนึ่งที่มีความสามารถเหนือกว่าแบบแรก โดยตัวระบบสามารถระบุเชื่อโปรแกรมที่ไม่ให้ใช้งานได้ เช่น ระบบการใช้ firefox, Internet Explorer, Chrome เป็นต้น ซึ่งระบบนี้ส่วนใหญ่จะเน้นเป็นการปิดกั้นการใช้งาน เหมาะสำหรับองค์กรที่มีระเบียบที่เข้มงวดกับพนักงาน จึงไม่ได้รับความนิยมมากนัก
  • การตั้งค่า QOS แบบกำหนด Port หรือช่องทางสำหรับเครือข่าย โดยปกติแล้วไม่ว่าโปรแกรมที่ใช้งานต่างๆ ก็จะมีมาตรฐาน Port เช่น FTP สำหรับโอนข้อมูลก็จะใช้ Port 21 หรือ การใช้งานอินเตอร์เน็ต ก็จะใช้งาน Port 80 และ 8080 การใช้งานรับและส่งอีเมล์ จะใช้ Port 25,110,143 เป็นต้น ซึ่งแน่นอนการที่จะ ตั้งค่า QOS ระบบนี้ได้ต้องใช้อุปกรณ์ในระดับสูงขึ้นและต้องใช้ผู้ที่มีความรู้ความชำนาญทางด้านเครือข่าย จึงเหมาะสำหรับองค์กรที่มีขนาดใหญ่ ทำให้สามารถควบคุมและจัดสรรทรัพยกรทางเครือข่ายได้

การสำรองข้อมูลเอกสาร

การสำรองข้อมูลเอกสาร
การสำรองข้อมูลเอกสาร

การสำรองข้อมูลเอกสาร

การสำรองข้อมูลเอกสาร ในการทำงานที่ต้องมีความเกี่ยวข้องกับเอกสาร ไม่ว่าจะเป็นบุคลากรฝ่ายบัญชี ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายบุคคล ฝ่ายธุรการ เลขานุการ เป็นต้น เชื่อว่าหลายต่อหลายท่านไม่เคยที่จะทำ การสำรองข้อมูลเอกสาร ที่มีความเกี่ยวข้องกับงานที่ทำ เพราะอาจจะมาจากมองว่าส่วนใหญ่แล้วข้อมูลต่างๆ อยู่ในรูปแบบของเอกสารที่เป็นกระดาษ การสำรองข้อมูลเอกสาร ที่เป็นกระดาษซึ่งทำได้โดยการถ่ายเอกสาร แต่ทำให้สินเปลืองค่ากระดาษ หมึกพิมพ์ และที่สำคัญคือสถานที่จัดเก็บเอกสารสำรอง การแก้ไขปัญหาอาจจะใช้ระบบ Document Management Software ที่บริษัทเอกชนรายใหญ่ๆ เลือกนำเข้ามาใช้งานเพื่อเป็นการลดปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเอกสาร และลดค่าใช้จ่ายที่มหาศาลในเรื่องของกระดาษ แต่สำหรับองค์กรบางรายอาจจะเลือกเป็นการ scan เอกสารให้เก็บอยู่ในรูปแบบของไฟล์ PDF หรือ ไฟล์รูปภาพต่างๆ แทน และนำไปสำรองไว้ในระบบ share server ที่มีพื้นที่จัดเก็บเป็นจำนวนมาก หรือเก็บไว้ในระบบ Cloud Computing ที่มีให้บริการฟรีและเสียค่าบริการ ตามความเหมาะสมของแต่ละบุคคลหรือแต่ละองค์กร

การสำรองข้อมูลเอกสาร ช่วยทำให้ลดความเสี่ยงในการสูญเสียข้อมูล เช่น ปัญหาน้ำท่วมในปี 2554 ที่แม้แต่กรุงเทพฯ เองก็หนี้ไม่พ้น ทำให้หลายๆ บริษัทเอกสารได้รับความเสียหาย นอกจากนี้หากองค์กรมีการใช้ระบบสารสนเทศเข้ามาจัดการเอกสารจะเป็นการลดพื้นที่สำหรับการจัดเก็บเอกสาร ลดค่าใช้จ่าย ค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว มีความปลอดภัยในการเก็บรักษาข้อมูลมากยิ่งขึ้น นอกจากประโยชน์ที่ได้กล่าวมาแล้วหากเราเก็บเอกสารให้อยู่ในรูปแบบของสื่อทางคอมพิวเตอร์ เราสามารถเรียกใช้งานข้อมูลเอกสารได้ทุกที่ที่มีระบบอินเตอร์เน็ต หรือสามารถพกพาข้อมูลไปได้ง่ายกว่า

การสำรองข้อมูลเอกสาร ยิ่งหน่วยงานภาครัฐ หรือระบบธนาคารเอง ที่จำเป็นต้องใช้เอกสาร หลักฐาน หรือสัญญาต่างๆ เป็นจำนวนมาก มีการให้ความสำคัญในการเก็บสำรองข้อมูลน้อยมาก ซึ่งเราเองต้องย่อมรับว่าอำนาจในการตัดสินใจเลือกระบบมาใช้งานในองค์กรนั้นเป็นของฝ่ายบริหาร ทำให้การที่องค์กรจะมีนโยบายลงมาหรือจัดหาเครื่องมือที่จะมาช่วยอำนวยความสะดวกในการบริหารเอกสารนั้นทำได้ยาก ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันปัญหาจาก การสำรองข้อมูลเอกสาร ควรเริ่มต้นจากพนักงานเองที่จะริเริ่มตระหนักถึงความเสี่ยงในข้อมูลเพื่อเป็นประโยชน์สำหรับองค์กร